วันเสาร์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2552
รถ HONDA C70
สำหรับรถที่มีการผลิตออกมาในช่วงแรก ๆ นั้นจะสังเกตได้จากเบาะที่มีขนาดมากกว่า จักรยานยนต์ในสายการผลิตถัดมา คือ Honda CA100 มันคือรถโมเดลใหม่ที่มาแทนที่ใน รุ่น C100 มีสายการผลิตในช่วงปี 1962-1970 มีการผลิตเฉดสีออกจำหน่าย สู่ท้องตลาดทั้งสิ้นสี่สีด้วยกัน เช่นเดียวกับโมเดล C100 นั้นคือ สีทูโทนแดงสดตัดสีขาว ,สีขาวล้วน,สีทูโทนน้ำเงินตัดขาว และ สีทูโทน ดำตัดขาว เครื่องยนต์ยังคงเป็นแบบสี่จังหวะ ขนาดความจุ 49 cc สูบเดียว OHV ใช้ระบบขับเคลื่อนโดยชุดเกียร์แบบ สามสปีด และระบบ ครัทซ์แบบออโตเมติก เช่นเดิมไม่มีการเปลี่ยนแปลง และสำหรับระบบสตาร์ทในรุ่นนี้มีการผลิตออกมา เฉพาะ ระบบสตาร์ทด้วยเช่นกัน ที่ด้านหน้าของตัวรถและที่ฐานเบาะจะมี โลโก้อักษรภาษาอังกฤษว่า “Honda 50” เป็นสัญลักษณ์สำหรับ รถรุ่นนี้ ไฟท้ายมีการออกแบบ ให้มีขนาดใหญ่ขึ้นกว่าโมเดลก่อนอย่างเห็นได้ชัด สายการผลิตของจักรยานยนต์ Super CUP 50 cc ไม่ได้มีการผลิตและจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นเพียงอย่างเดียวเท่านั้น และยังมีการส่งไปจำหน่ายอีกหลายประเทศทั่วโลก.
รถยอดนิยม ที่ปัจจุบันมีการสะสมมาก
the Super CUP มีการส่งออกไปจำหน่ายที่สหรัฐอเมริกา เป็นครั้งแรกในปี1959 และไม่นานนักก็มีการส่งออกไปจำหน่ายใน 160 ประเทศ ทั่วโลกในเวลาต่อมา มีการเปิดสายการผลิตใน ประเทศต่างๆเพิ่มขึ้นมากมายกว่า 14 ประเทศเพื่อต้องการขยาย ตลาดไปยังประเทศในแถบ south-East Asia ทั้งหมด the Super CUP กลายเป็นรถที่มีความเอนกประสงค์มากที่สุด และ เป็นที่ รู้จักของของคนทั่วโลก นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันสำหรับสายการผลิตแรกของรถจักรยาน ยนต์ ในตระกูล Super CUP
คือ โมเดล Honda c100 Super CUP 50 มีสายการผลิตอยู่ในช่วง 1959-1962 มีการผลิตเฉดสีออกจำหน่ายสู่ท้องตลาด ทั้งสิ้น 4 สีด้วยกัน คือ สีทรูโทนแดงสดตัดขาว, สีขาวล้วน, สีทูโทนน้ำเงินตัดขาวและสีทูโทนดำตัดขาว ที่ด้านหน้าของตัวรถและที่ฐานเบาะ จะมีโลโก้อักษรภาษาอังกฤษว่า “CUB”และ” Super CUP” เป็นสัญลักษณ์สำหรับรถรุ่นนี้ ที่ไฟท้ายจะมีลักษณะเป็นทับทิมสีแดง เครื่องยนต์มีขนาดความจุ 49 cc สูบเดียน 4 จังหวะ OHV ใช้ระบบขับเครื่อง โดยชุดเกียร์แบบสามสปีด และระบบครัทช์แบบ ออโตเมติก สำหรับระบบสตาร์ท ในรุ่นนี้มีการผลิตออกมาเฉพาะ ระบบสตาร์ทโดยเท้าเท่านั้น
คือ โมเดล Honda c100 Super CUP 50 มีสายการผลิตอยู่ในช่วง 1959-1962 มีการผลิตเฉดสีออกจำหน่ายสู่ท้องตลาด ทั้งสิ้น 4 สีด้วยกัน คือ สีทรูโทนแดงสดตัดขาว, สีขาวล้วน, สีทูโทนน้ำเงินตัดขาวและสีทูโทนดำตัดขาว ที่ด้านหน้าของตัวรถและที่ฐานเบาะ จะมีโลโก้อักษรภาษาอังกฤษว่า “CUB”และ” Super CUP” เป็นสัญลักษณ์สำหรับรถรุ่นนี้ ที่ไฟท้ายจะมีลักษณะเป็นทับทิมสีแดง เครื่องยนต์มีขนาดความจุ 49 cc สูบเดียน 4 จังหวะ OHV ใช้ระบบขับเครื่อง โดยชุดเกียร์แบบสามสปีด และระบบครัทช์แบบ ออโตเมติก สำหรับระบบสตาร์ท ในรุ่นนี้มีการผลิตออกมาเฉพาะ ระบบสตาร์ทโดยเท้าเท่านั้น
The Super CUP
สายการผลิตของ the Super CUP มีการปรับปรุงและพัฒนาสายการผลิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีในด้านของการขับขี่ ทั้งในด้านของสมรรถนะ เครี่องยนต์และความประหยัดเชื้อเพลิง แต่สิ่งหนึ่งซึ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็น ได้ชัดนั้นคือ รูป ลักษณ์ภายนอก ซึ่งยังคงรูปแบบเดิมอยู่จนกระทั่งปัจจุบัน ในด้านของการตลาด the Super CUP กลายเป็นอีกหนึ่งทางเลือก สำหรับ ตลาดรถเอนกประสงค์หรือรถสกุตเตอร์ในเวลาอันรวดเร็ว จนคำว่า CUP เกือบจะเป็นคำที่มีความหมายว่ารถ สกุตเตอร์ใช้ งานไปแล้วในตลาดรถสกุตเตอร์
ประวัติ Honda
ในปัจจุบันมีบริษัทผู้ผลิตรถจักรยานยนต์มากมาย ซึ่งในบริษัทผู้ผลิตรถที่มีชื่อเสียงเหล่านั้น คงไม่มีใครที่ไม่รู้จักผลิตภัณฑ์ภายใต้ชื่อ ฮอนด้า แน่นอน ฮอนด้าเปิดสายการผลิตรถจักรยานยนต์ มาตั้งแต่อดีต มีการผลิตรถจักรยานยนต์ออกมามากมายหลายรุ่น ด้วย เทคโนโลยีที่เก้าทันกระแสการ เปลี่ยนแปลงของโลกตลอดเวลา แต่มีรถจักรยานยนต์ โมเดลหนึ่งซึ่งทุกคนอาจมองข้ามไปนั้น คือการผลิตของรถโมเดล Super CUP นั่นเอง สายการผลิตของรถจักรยานยนต์ในโมเดลนี้ มีจำนวนทั้งสิ้นมากกว่า 35 ล้าน คัน แล้วในปัจจุบันในช่วงปี 1959 – 1962 มีเปิดตัวสายการผลิต ครั้งแรกในรุ่น Honda c100 อย่างเป็นทางการ ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ปี2002 บริษัท Honda Moter โมเดล Super CUP co.,Ltd มีการเช็คจำนวนผลิตภัณฑ์ ทั้งหมดสำหรับ อีกครั้ง พบว่าในช่วงเวลา 44 ปีที่ผ่านมา สายการผลิต ของรถโมเดลนี้มีจำนวนมากถึง 35 ล้านคันแล้วนับจากสาม เดือนแรกที่มีการ จัดจำหน่ายสู่ท้องตลาดอย่างเป็นทางการในปี 1958 สายการผลิตในช่วงแรกของ Super CUP นั้นมีการออก แบบ และพัฒนาขึ้นโดยตรงจากฝีมือของนาย Soichiro Honda ผู้บริหารระดับสูงหรือเจ้าของบริษัทฮอนด้านั่นเอง โดยได้แนว ความคิด ในการออกแบบรถจักรยานยนต์สายพันธ์ใหม่นี้มาจากการความเอนกประสงค์ ของรถสกุตเตอร์ที่ทุกคน ในสมัยนั้นต่าง ก็ยอมรับในความสามารถรอบตัวของมัน เครื่องยนต์ของรถสกุตเตอร์ในสมัยนั้นแทบทั้งหมดจะเป็น เครื่องยนต์แบบสองจังหวะ แต่สำหรับฮอนด้าโมเดล the Super CUP แล้วมีการปรับปรุงรูปแบบใหม่ด้วยการใช้เครื่องยนต์แบบสี่จังหวะสมรรถภาพสูง 50ซีซี เข้ามาติดตั้งแทน ซึ่งเครื่องยนต์แบบนี้โดดเด่นมากกว่าของกำลังที่ ได้ความประหยัดเชื้อเพลิงที่สูงกว่า อีกทั้งยัง มีความทนทาน กว่าเครื่องยนต์สี่จังหวะ อย่างเห็นได้ชัด ในด้านของรูปลักษณ์ภายนอกมีการออกแบบให้ตัวรถ อยู่ในระดับต่ำเช่นเดียวกับ รถสกุต เตอร์แต่มีการออกแบบโครงสร้างตัวถังเป็นแบบ backbone frame แทน เพื่อให้ง่ายต่อการติดตั้งและ การถอดออกของ บังลม ด้านหน้า ซึ่งออกแบบมาเพื่อป้องกันโคลนสิ่งสกปรก และลม มาประทะขาของผู้ขับขี่ ที่สำคัญโครงสร้างตัวถังแบบนี้ยังเป็น วัตกรรม ใหม่ล่าสูดในสมัยนั้นอีกด้วย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)